อารมณ์ก้าวร้าว

Unyana

ขีดเขียนในตำนาน (770)
เด็กใหม่ (3)
เด็กใหม่ (0)
POST:1297
เมื่อ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2564 14.53 น.

อารมณ์ก้าวร้าวและชอบอาละวาดถือว่าเกิดขึ้นได้บ่อยสำหรับเด็กอายุ 2 ขวบไอจนถึง 5 ขวบเนื่องจากเป็นวัยที่ไม่มีการควบคุมอารมณ์ตัวเองและบางคนมีพื้นฐานอารมณ์เป็นเด็กที่ทำการเลี้ยงดูได้ยากทำให้เกิดความไม่สบายใจและอาละวาดได้บ่อยคุณพ่อคุณแม่ที่เลี้ยงลูกจะต้องดูว่าสาเหตุที่ทำให้ลูกของเรากลายเป็นคนก้าวร้าวเพราะอะไรเพื่อจะได้แก้ปัญหาอย่างถูกต้อง

ส่วนใหญ่แล้วปัญหาลูกก้าวร้าวอาจเกิดมาจากการเลี้ยงดูซึ่งถ้าหากมีพ่อแม่ที่เป็นคนอารมณ์ร้ายก้าวร้าวและชุมเชียวง่ายเด็กก็จะหรือมองเห็นแนะนำไปทำตามหากเมื่อไหร่ที่พบว่าเด็กแสดงความก้าวร้าวบ่อยๆให้ระวังโรคที่มาพร้อมกับปัญหาเหล่านี้ซึ่งมีทั้งสมาธิบกพร่องออทิสติกหรือไฮเปอร์แอคทีฟร้ายแรงมากอาจจะกลายเป็นโรคสมองพิการก็เป็นได้เนื่องจากปัญหาทางสุขภาพจิตของเด็กจะเป็นตัวบ่งชี้ว่าเมื่อไหร่ก็ตามที่เด็กรู้สึกไม่เป็นสุขมีอาการตื่นเต้นตกใจหรือมีความกังวลถูกกดดันจากพ่อแม่และผู้ปกครองก็จะส่งผลให้เกิดปัญหาได้จึงไม่น่าแปลกใจเลยที่เด็กบางคนแสดงออกด้วยความก้าวร้าว

อย่างไรก็ตามหลายๆครอบครัวมีสาเหตุที่เห็นได้เด่นชัดคือการเลี้ยงดูในครอบครัวเนื่องจากพ่อแม่บางคนสงสัยเรื่องงานจนการอบรมหรือเลี้ยงดูลูกหลานนั้นบกพร่องลงไปบ่อยครั้งจึงมีการสร้างที่เลี้ยงเด็กมาดูแลทำให้เด็กไม่รู้สึกอบอุ่นซึ่งบางครั้งที่เลี้ยงที่ตั้งมามีการปล่อยปละละเลยไม่เอาใจใส่ บางครั้งได้รับการลงโทษรุนแรงจากพี่เลี้ยงหรือพ่อแม่บางบ้านก็มีการตามใจเด็กมากจนเกินไปหากใครๆใจก็จะเกิดการแสดงความก้าวร้าวออกมาซึ่งความก้าวร้าวที่แสดงในเด็กเกิดจากการที่เห็นคนในครอบครัวทะเลาะกันและเด็กมีการซึมซับพฤติกรรมเหล่านั้นขึ้นมานั่นเอง

สิ่งที่พ่อแม่จะต้องทำเพื่อแก้ไขปัญหาเหล่านี้หรือป้องกันคือการทำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยงฝึกให้เด็กรู้ว่าการเก็บอารมณ์คือสิ่งสำคัญนอกจากนี้อาจต้องปรับปรุงพฤติกรรมของตนเองที่อาจทำให้เด็กเกิดการเรียนแบบได้ฝึกการชะลอความโกรธด้วยการนับ 1-10 หรือผ่อนลมหายใจการให้อภัยและไม่ถือโทษ

นอกจากนี้อย่าลืมชื่นชมเด็กเมื่อเด็กควบคุมตนเองหรือมีพฤติกรรมที่เหมาะสมด้วยอย่างไรก็ตามการทำให้บรรยากาศในครอบครัวมีความอบอุ่นและมีความใกล้ชิดกันระหว่างคนในครอบครัวจะทำให้เด็กมีความมั่นคงในจิตใจควบคุมอารมณ์ได้ดีขึ้นและอบอุ่นใจมากยิ่งขึ้น

หากเด็กเกิดปัญหาพฤติกรรมก้าวร้าวไปแล้วต้องใช้วิธีร่วมกันดังต่อไปนี้

1.ทำให้เด็กรู้ว่าผู้ใหญ่ไม่ยอมรับพฤติกรรมก้าวร้าวแต่ให้พูดอย่างเหมาะสมโดยไม่มีการลงโทษทางร่างกายเช่นกันตีหรือตะโกนว่ากล่าว

 

  1. ถ้าเห็นว่าการกระทำข้าวของเสียหายผู้ใหญ่จะต้องกอดไว้เพื่อไม่ให้เด็กนั้นเกิดความรุนแรงขึ้นมาอีก
  2. ผู้ใหญ่ต้องรับฟังเด็กเพื่อให้เด็กเล่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ทำให้เด็กรู้ว่าการที่ผู้ใหญ่รับฟังไม่ใช่เรื่องน่ากลัวเสมอไป

สำหรับใครที่รู้ตัวดีอยู่แล้วว่าลูกก้าวร้าวcและอยากจะแก้ไขปัญหาลูกโมโหร้ายหรือว่าปัญหาเด็กก้าวร้าวได้อย่างเห็นผล เพราะไม่อยากเห็นลูกอารมณ์รุนแรงจนไม่สามารถปรับตัวเข้ากับสังคมได้ ขอแนะนำว่าให้นำหลักการดังกล่าวไปใช้ รับรองว่าได้ผลอย่างแน่นอน

 

โพสตอบ

* ต้องล็อกอินก่อนครับ ถึงสามารถเโพสตอบได้

 
รอสักครู่กำลังโหลดข้อมูล
ข้อความ : เลือกเล่นเสียง
สนทนา